[ใหม่] รักษาป้องกัน โรคปริทันต์อักเสบ เหงือกร่น ฟันโยกคลอน เหงือกบวมอักเสบ แผลในปาก รากฟันอักเสบ เลือดออกที่เหงือก ที่ต้นเหตุ
218 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - เขตดุสิต - คนดู 13
รายละเอียด
รักษาป้องกัน โรคปริทันต์อักเสบ เหงือกร่น ฟันโยกคลอน เหงือกบวมอักเสบ แผลในปาก รากฟันอักเสบ เลือดออกที่เหงือก ที่ต้นเหตุ
ปรึกษาปัญหาสุขภาพทุกปัญหาได้ที่ LINE: sv-skin
โทร: 080-5377730
สาเหตุของเหงือกร่น
สาเหตุการเกิดโรคเหงือกร่นเกิดจากหลายปัจจัยประกอบกัน จากการศึกษาพบว่าสาเหตุเหล่านี้ล้วนมีส่วนทำให้เนื้อเหงือกร่นถอยลง ได้แก่ การแปรงฟันผิดวิธี การแปรงฟันควรแปรงเป็นแนวตั้งและแปรงเบาๆแต่พอดี เพราะการแปรงฟันแนวนอนและแปรงแรงเกินไปทำให้คอฟันสึกและเหงือกร่นได้ การสะสมของคราบหินปูน, คราบพลัค รวมถึงโรคปริทันต์อักเสบ ก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเหงือกรอบฟันจากการอักเสบ การสูบบุหรี่ ในการสูบบุหรี่จะก่อให้เกิดคราบที่บริเวณฟัน ทำให้เกิดอาการเหงือกอักเสบ รวมถึงยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปากหลายชนิดที่ขายตามท้องตลาดซึ่งมีส่วนทำลายเนื้อเยื่อเหงือก ทำให้เหงือกเอักเสบและติดเชื้อได้ง่าย
สาเหตุโรคเหงือกอักเสบ
สาเหตุของโรคเหงือกอักเสบคือ “คราบจุลินทรีย์” ซึ่งเกิดจากการสะสมของเชื้อโรคที่ปะปนอยู่ในน้ำลายลงบนตัวฟัน ลักษณะของคราบจุลินทรีย์เป็นคราบสีขาวอ่อนนุ่ม เมื่อมีปริมาณน้อยมักจะมองไม่เห็นเนื่องจากมีสีกลืนไปกับตัวฟัน หากคราบจุลินทรีย์ถูกทิ้งไว้นานจะเกิดการสะสมแร่ธาตุเกิดเป็น “หินน้ำลายหรือหินปูน” ซึ่งจะส่งเสริมให้มีการสะสมของคราบจุลินทรีย์มากขึ้น เชื้อโรคที่เกาะบนหินน้ำลายนี้จะผลิตสารพิษ ทำให้ร่างกายมีการตอบสนองจนเกิดการอักเสบของเหงือกขึ้น โรคเหงือกอักเสบหากทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษา ในผู้ป่วยบางรายจะกลายเป็น “โรคปริทันต์อักเสบ” (สมัยก่อนเรียกโรครำมะนาด) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียฟันในวัยผู้ใหญ่
สาเหตุของโรคปริทันต์อักเสบ
โรคปริทันต์อักเสบ คือ โรคที่มีการอักเสบของอวัยวะที่อยู่รอบ ๆ ตัวฟัน ได้แก่ เหงือก เอ็นยึดปริทันต์ เคลือบรากฟัน และกระดูกเบ้าฟัน ถ้าไม่ได้รับการรักษาอวัยวะต่าง ๆ เหล่านี้จะถูกทำลายไปอย่างช้า ๆ ทุกวันจนต้องสูญเสียฟันไปในที่สุด โรคนี้ภาษาชาวบ้านเรียกว่า โรครำมะนาด มีความรุนแรงมากกว่าโรคเหงือกอักเสบ สาเหตุหลักของการเกิดโรคนี้คือ คราบจุลินทรีย์ที่มากับอาหารที่เราทานและน้ำลาย เชื้อแบคทีเรียในคราบจุลินทรีย์เหล่านี้จะสร้างสารพิษมาย่อยเหงือกและกระดูกเบ้าฟันของเรา ลักษณะอาการของโรคปริทันต์อักเสบ คือ เหงือกไม่ยึดกับฟัน ร่วมกับมีการทำลายเนื้อเยื่อเหงือกและกระดูกเบ้าฟันอย่างต่อเนื่องโดยเราไม่รู้ตัว ตรวจได้จากการหยั่งร่องเหงือกลงไปได้ลึก เรียก “ร่องลึกปริทันต์” ซึ่งเกิดจากเชื้อโรคผลิตสารพิษและกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของร่างกายอย่างมากจนเกิดการทำลายเหงือกและกระดูกที่ยึดฟัน โรคปริทันต์อักเสบเมื่อเป็นช่วงต้นมักจะไม่มีอาการ ลักษณะที่พอจะใช้สังเกตได้คล้ายกับลักษณะของโรคเหงือกอักเสบ กล่าวคือ เหงือกแดงบวมเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีเลือดออกขณะแปรงฟัน เมื่อโรคลุกลามมากขึ้นจนกระดูกที่รองรับฟันถูกทำลายไปมากแล้ว อาจจะพบเหงือกร่น ฟันโยกหรือฟันเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งเดิม ฟันยื่นยาวหรือแยกกันเกิดเป็นช่องว่างระหว่างฟัน มีเหงือกบวมเป็นหนองในกรณีที่เป็นโรครุนแรงมากๆจนเป็นฝีปริทันต์ และมีกลิ่นปาก และในบางกรณีอาจจะไม่สามารถเก็บฟันไว้ได้
สาเหตุของอาการปวดฟันและรากฟันอักเสบ
1. ฟันผุ ในระยะแรกของฟันผุนั้น จะไม่มีอาการใดๆ แต่ถ้าส่วนที่ผุนั้นลึกมากขึ้น ก็จะเริ่มมีอาการเสียวฟันเวลาดื่มน้ำร้อน น้ำเย็น บางครั้งผู้ป่วยอาจจะรู้สึกปวดฟันขึ้นมาในขณะเคี้ยวอาหาร เนื่องจากมีเศษอาหารไปติดอยู่ในรูที่ผุนั้น การอักเสบของเนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นผลจากฟันที่ผุลึกมาก จนกระทั่งทะลุโพรงประสาทฟัน ซึ่งจะอยู่ในส่วนของรากฟันและอาจพบได้ในฟันสึก 2. ฟันร้าวหรือแตกลึกถึงโพรงประสาทฟัน ซึ่งจะทำให้เกิดอาการอักเสบและติดเชื้อของเนื้อเยื่อในโรงประสาทฟัน ทำให้เกิดอาการปวดฟันขึ้นมาได้ โดยมักจะมีอาการปวดฟันขึ้นมาเองโดยไม่ต้องมีสิ่งกระตุ้น โดยเฉพาะเวลากลางคืน จะมีอาการปวดฟันมากและปวดอยู่นาน ซึ่งแสดงว่าฟันมีการอักเสบและติดเชื้อในเนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟีน 3. ปลายรากฟันอักเสบเป็นหนอง ถ้าการอักเสบของเนื้อเยื้อในโพรงประสาทฟันฟันเป็นอยู่นาน โรคอาจจะลุกลามไปที่ปลายรากฟัน ทำให้เกิดการติดเชื้อและเป็นหนองบริเวณปลายรากฟัน ก็จะมีอาการปวดฟันได้เช่นกัน ร่วมกับการบวมของเหงือกบริเวณฟันที่ติดเชื้อและเป็นโรคได้ ถ้าเชื้อลุกลามออกนอกปลายรากไปที่ใต้คางหรือแก้ม จะสังเกตได้ว่าหน้าจะบวมได้
รักษาป้องกัน เหงือกร่น ฟันโยกคลอน โรคปริทันต์อักเสบ เหงือกบวมอักเสบ แผลในปาก รากฟันอักเสบ เลือดออกที่เหงือก ที่ต้นเหตุ
ปรึกษาปัญหาสุขภาพทุกปัญหาได้ที่ LINE: sv-skin
โทร: 080-5377730
ปรึกษาปัญหาสุขภาพทุกปัญหาได้ที่ LINE: sv-skin
โทร: 080-5377730
สาเหตุของเหงือกร่น
สาเหตุการเกิดโรคเหงือกร่นเกิดจากหลายปัจจัยประกอบกัน จากการศึกษาพบว่าสาเหตุเหล่านี้ล้วนมีส่วนทำให้เนื้อเหงือกร่นถอยลง ได้แก่ การแปรงฟันผิดวิธี การแปรงฟันควรแปรงเป็นแนวตั้งและแปรงเบาๆแต่พอดี เพราะการแปรงฟันแนวนอนและแปรงแรงเกินไปทำให้คอฟันสึกและเหงือกร่นได้ การสะสมของคราบหินปูน, คราบพลัค รวมถึงโรคปริทันต์อักเสบ ก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเหงือกรอบฟันจากการอักเสบ การสูบบุหรี่ ในการสูบบุหรี่จะก่อให้เกิดคราบที่บริเวณฟัน ทำให้เกิดอาการเหงือกอักเสบ รวมถึงยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปากหลายชนิดที่ขายตามท้องตลาดซึ่งมีส่วนทำลายเนื้อเยื่อเหงือก ทำให้เหงือกเอักเสบและติดเชื้อได้ง่าย
สาเหตุโรคเหงือกอักเสบ
สาเหตุของโรคเหงือกอักเสบคือ “คราบจุลินทรีย์” ซึ่งเกิดจากการสะสมของเชื้อโรคที่ปะปนอยู่ในน้ำลายลงบนตัวฟัน ลักษณะของคราบจุลินทรีย์เป็นคราบสีขาวอ่อนนุ่ม เมื่อมีปริมาณน้อยมักจะมองไม่เห็นเนื่องจากมีสีกลืนไปกับตัวฟัน หากคราบจุลินทรีย์ถูกทิ้งไว้นานจะเกิดการสะสมแร่ธาตุเกิดเป็น “หินน้ำลายหรือหินปูน” ซึ่งจะส่งเสริมให้มีการสะสมของคราบจุลินทรีย์มากขึ้น เชื้อโรคที่เกาะบนหินน้ำลายนี้จะผลิตสารพิษ ทำให้ร่างกายมีการตอบสนองจนเกิดการอักเสบของเหงือกขึ้น โรคเหงือกอักเสบหากทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษา ในผู้ป่วยบางรายจะกลายเป็น “โรคปริทันต์อักเสบ” (สมัยก่อนเรียกโรครำมะนาด) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียฟันในวัยผู้ใหญ่
สาเหตุของโรคปริทันต์อักเสบ
โรคปริทันต์อักเสบ คือ โรคที่มีการอักเสบของอวัยวะที่อยู่รอบ ๆ ตัวฟัน ได้แก่ เหงือก เอ็นยึดปริทันต์ เคลือบรากฟัน และกระดูกเบ้าฟัน ถ้าไม่ได้รับการรักษาอวัยวะต่าง ๆ เหล่านี้จะถูกทำลายไปอย่างช้า ๆ ทุกวันจนต้องสูญเสียฟันไปในที่สุด โรคนี้ภาษาชาวบ้านเรียกว่า โรครำมะนาด มีความรุนแรงมากกว่าโรคเหงือกอักเสบ สาเหตุหลักของการเกิดโรคนี้คือ คราบจุลินทรีย์ที่มากับอาหารที่เราทานและน้ำลาย เชื้อแบคทีเรียในคราบจุลินทรีย์เหล่านี้จะสร้างสารพิษมาย่อยเหงือกและกระดูกเบ้าฟันของเรา ลักษณะอาการของโรคปริทันต์อักเสบ คือ เหงือกไม่ยึดกับฟัน ร่วมกับมีการทำลายเนื้อเยื่อเหงือกและกระดูกเบ้าฟันอย่างต่อเนื่องโดยเราไม่รู้ตัว ตรวจได้จากการหยั่งร่องเหงือกลงไปได้ลึก เรียก “ร่องลึกปริทันต์” ซึ่งเกิดจากเชื้อโรคผลิตสารพิษและกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของร่างกายอย่างมากจนเกิดการทำลายเหงือกและกระดูกที่ยึดฟัน โรคปริทันต์อักเสบเมื่อเป็นช่วงต้นมักจะไม่มีอาการ ลักษณะที่พอจะใช้สังเกตได้คล้ายกับลักษณะของโรคเหงือกอักเสบ กล่าวคือ เหงือกแดงบวมเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีเลือดออกขณะแปรงฟัน เมื่อโรคลุกลามมากขึ้นจนกระดูกที่รองรับฟันถูกทำลายไปมากแล้ว อาจจะพบเหงือกร่น ฟันโยกหรือฟันเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งเดิม ฟันยื่นยาวหรือแยกกันเกิดเป็นช่องว่างระหว่างฟัน มีเหงือกบวมเป็นหนองในกรณีที่เป็นโรครุนแรงมากๆจนเป็นฝีปริทันต์ และมีกลิ่นปาก และในบางกรณีอาจจะไม่สามารถเก็บฟันไว้ได้
สาเหตุของอาการปวดฟันและรากฟันอักเสบ
1. ฟันผุ ในระยะแรกของฟันผุนั้น จะไม่มีอาการใดๆ แต่ถ้าส่วนที่ผุนั้นลึกมากขึ้น ก็จะเริ่มมีอาการเสียวฟันเวลาดื่มน้ำร้อน น้ำเย็น บางครั้งผู้ป่วยอาจจะรู้สึกปวดฟันขึ้นมาในขณะเคี้ยวอาหาร เนื่องจากมีเศษอาหารไปติดอยู่ในรูที่ผุนั้น การอักเสบของเนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นผลจากฟันที่ผุลึกมาก จนกระทั่งทะลุโพรงประสาทฟัน ซึ่งจะอยู่ในส่วนของรากฟันและอาจพบได้ในฟันสึก 2. ฟันร้าวหรือแตกลึกถึงโพรงประสาทฟัน ซึ่งจะทำให้เกิดอาการอักเสบและติดเชื้อของเนื้อเยื่อในโรงประสาทฟัน ทำให้เกิดอาการปวดฟันขึ้นมาได้ โดยมักจะมีอาการปวดฟันขึ้นมาเองโดยไม่ต้องมีสิ่งกระตุ้น โดยเฉพาะเวลากลางคืน จะมีอาการปวดฟันมากและปวดอยู่นาน ซึ่งแสดงว่าฟันมีการอักเสบและติดเชื้อในเนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟีน 3. ปลายรากฟันอักเสบเป็นหนอง ถ้าการอักเสบของเนื้อเยื้อในโพรงประสาทฟันฟันเป็นอยู่นาน โรคอาจจะลุกลามไปที่ปลายรากฟัน ทำให้เกิดการติดเชื้อและเป็นหนองบริเวณปลายรากฟัน ก็จะมีอาการปวดฟันได้เช่นกัน ร่วมกับการบวมของเหงือกบริเวณฟันที่ติดเชื้อและเป็นโรคได้ ถ้าเชื้อลุกลามออกนอกปลายรากไปที่ใต้คางหรือแก้ม จะสังเกตได้ว่าหน้าจะบวมได้
รักษาป้องกัน เหงือกร่น ฟันโยกคลอน โรคปริทันต์อักเสบ เหงือกบวมอักเสบ แผลในปาก รากฟันอักเสบ เลือดออกที่เหงือก ที่ต้นเหตุ
ปรึกษาปัญหาสุขภาพทุกปัญหาได้ที่ LINE: sv-skin
โทร: 080-5377730