[ใหม่] บรรจุภัณฑ์ที่เป็น FOOD GRADE ความปลอดภัยที่ใส่ใจผู้บริโภค
152 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - เขตบางนา - คนดู 54
10 ฿
รายละเอียด
กล่าวถึงเรื่องของอาหารการกินในทุกวันนี้ของผู้บริโภคในสังคม ผู้บริโภคนั้นต่างคำนึงถึงความสะดวกสบาย ความสะอาดรวมถึงความปลอดภัย เป็นหลัก เพราะภาชนะบรรจุภัณฑ์ในการใส่อาหารที่มีหลายรูปแบบ แบ่งแยกประเภทได้อย่างมากมาย ซึ่งบางบรรจุภัณฑ์ก็เลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้วัสดุที่ย่อยสลายได้ยากเช่น พลาสติก โฟม เป็นต้น แล้วบรรจุภัณฑ์พวกนี้ทนความร้อนได้หรือไม่ จะมีสารเคมีตกค้างไปสู่อาหารหรือเปล่า ? คงเกิดเป็นคำถามในใจกับผู้บริโภคหลายท่าน แล้ววัสดุอะไรที่ทำจากวัสดุจากธรรมชาติ และสัมผัสอาหารได้โดยตรง ย่อยสลายง่าย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นมิตรต่อผู้บริโภค ยกระดับแบรนด์สินค้าของผู้ประกอบการ ชูวัตถุดิบ ผลิตจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน บทความนี้จะพาไปรู้จักกับวัสดุที่ผลิตแบบ Food grade กันครับ
เพราะเหตุใดจึงต้องเป็น ฟู้ดเกรด (Food grade) กับธุรกิจและอุตสาหกรรมอาหาร
จะกล่าวถึง สาเหตุที่หลายคนสงสัยหรือยังไม่ทราบว่า ทำไมต้องใช้คำว่า Food grade ในผู้ประกอบการร้านอาหารและเครื่องดื่มหรืออุตสาหกรรมเกี่ยวกับอาหาร นั่นก็เป็นเพราะว่าปัจจุบัน มีการใช้วัสดุที่หลากหลายมากมาย ไม่ว่าจะเป็น พลาสติก กระดาษ ไม้ ฯลฯ เข้ามาทำเป็นอุปกรณ์เครื่องครัว ตลอดจนหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ผู้บริโภคพกพาอาหารไว้รับประทานได้สะดวก ซึ่งด้วยอุณหภูมิของอาหาร เช่น ความร้อน อาจทำปฏิกิริยากับสารเคมีตลอดจนองค์ประกอบบางอย่างของวัสดุ ทำให้หากไม่มีการควบคุมคุณภาพและสร้างมาตรฐานในการใช้วัสดุสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร อาจทำให้มีสารเคมีตกค้างบนอาหาร จนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
FDA หรือ ชื่อย่อของพวกองค์การอาหารและยาจากทางประเทศสหรัฐอเมริกา (USA) องค์กรนี้นั้นจึงได้เริ่มกำหนดมาตรฐานที่เป็นแบบ Food Grade ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ผลิตรวมไปจนถึงผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร หรือประกอบธุรกิจต่างๆเกี่ยวกับด้านอาหารหรือเครื่องดื่มทั้งรายเล็กและรายใหญ่ เลือกที่จะใช้วัสดุให้มีความเหมาะสม สำหรับทุกกิจกรรม กิจการต่างๆที่ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ไม่ว่าจะการทำอาหาร การเตรียมอาหาร หรือบรรจุอาหารใส่ในภาชนะ ทั้งนี้แล้วนั้นเพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ก่อนที่ต่อมาจะกลายเป็นมาตรฐานให้แก่ทุกๆประเทศทั่วโลก ที่ต่างใช้กัน เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงในประเทศไทยของเราเองด้วยครับ
แล้วใช้วัสดุแบบไหนในการนำมาผลิต
อย่างที่เกริ่นในเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าปัจจุบัน วัสดุที่นิยมใช้กันในอุตสาหกรรมอาหารที่พบได้บ่อยและแพร่หลาย ก็คือ วัสดุที่เป็นพลาสติกและกระดาษ โดยเฉพาะวัสดุที่ผลิตมาจากพลาสติกซึ่ง จะเข้ามามีบทบาทมากทั้งในรูปแบบของอุปกรณ์เครื่องครัว ภาชนะต่างๆ รวมไปถึงบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหาร ซึ่งผู้บริโภคหลายๆท่านอาจจะมองข้ามและไม่รู้ว่าในตัวของวัสดุอย่างพลาสติกเองก็มีมากมายหลากหลายชนิด แต่ละชนิดก็ถูกนำมาใช้ ในบริบทที่แตกต่างกัน โดยจะจำแนกชนิดพลาสติกที่มีความเหมาะกับการนำมาใช้กับอาหาร สามารถสัมผัสอาหารได้โดยตรงจะ ประกอบด้วยตามหัวข้อดังนี้
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : PP หรือ POLYPROPYLENE (พอลิโพรพิลีน)
วัตถุดิบอย่างพลาสติกชนิดนี้ มีความแข็งและความเหนียว คุณสมบัติเบื้องต้นมี ความทนทานต่อการหักงอ ทนต่อความร้อนหรืออุณภูมิที่สูงรวมไปถึงทนต่อสารเคมีได้ มีความใส ป้องกันการผ่านของความชื้นได้ดี แต่ป้องกันการผ่านของอากาศได้ต่ำ และไม่ทนต่อความเย็น มักใช้ในการผลิตภาชนะเช่นจำพวก ถุงร้อน หรือพวกกล่องพลาสติกสำหรับใส่เพื่อบรรจุอาหาร
และด้วยคุณสมบัติที่สามารถทนต่อความร้อนได้สูง บรรจุภัณฑ์พวกนี้จึงทำให้นำเข้าอุ่นในเตาไมโครเวฟได้เพื่อประกออบหรืออุ่นอาหารได้ ทั้งนี้ พลาสติกที่มีส่วนผสมของวัสดุแบบ PP ยังสามารถนำไปทำบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารในครัวเรือน เช่น จานอาหาร ชามใส่อาหาร ถ้วยขนาดต่างๆ เป็นต้น
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade :HDPE (High Density Polyethylene)
เป็นวัตถุดิบที่มีส่วนประกอบที่มีคุณลักษณะของความแข็งแรง ทนทาน สามารถใช้ได้กับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมีความเป็นกรด เป็นด่าง เพราะตอบสนองได้ช้าต่อพวกปฏิกิริยาในทางเคมี มีความยืดหยุ่น เหนียว ที่สำตัญมีความทนทานต่อการแตกหรือหักงอได้เป็นอย่างดีและทนความร้อนได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ในเรื่องของคุณสมบัติเบื้องต้นนั้นสามารถใช้หรือบรรจุของที่มีอุณภูมิความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงถึง 100 องศาเซลเซียสได้อาทิเช่น พวกน้ำที่ต้มสุก,กาแฟร้อนประเภทต่างๆ,น้ำเต้าหู้ทรงเครื่อง,น้ำขิง หรือจะเป็นน้ำชงรูปแบบต่างๆที่ต้องใช้ความร้อนในการชง เป็นต้น โดยสามารถใส่เป็นถุงหิ้วพกพาได้ง่ายเช่น พกพวกน้ำหวานสำหรับใส่เครื่องดื่มที่มีความเย็น ถุงหิ้วใส่น้ำแข็ง หรือน้ำอัดลมไว้ดื่มได้ทุกที่ได้ครับ
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : LDPE (Low density polyethylene)
เป็นวัตถุดิบที่เป็นพลาสติกที่ไม่ทนต่อความร้อน ยืดหยุ่นได้ดี มีผิวสัมผัสที่นิ่ม ทนทานต่อการทะลุ รวมไปถึงทนทานต่อการฉีกขาด เนื้อวัสดุพลาสติกประเภทนี้จะมีความเหนียว ไม่กรอบหรือแตกง่าย แต่ในเรื่องของความแข็งแรงทนทานจะมีน้อยกว่าตัววัสดุพลาสติกแบบ HDPE อีกทั้ง มีความใสน้อยกว่า PP ตอบสนองต่อปฏิกิริยาเคมีช้า ทนต่อความเป็นกรดและความเป็นด่าง ออกซิเจนและอากาศสามารถที่ซึมผ่านได้ นิยมนำมาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหารเช่น ถุงเก็บความเย็น ขวดน้ำโพลาลิส ฝาขวดต่างๆ อีกหนึ่งคุณสมบัติของพลาสติกชนิดนี้ก็คือสามารถใส่ของที่มีความร้อนได้ไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส และถ้าหากหากนำใส่ของที่มีความเย็นสามารถนำไปแช่แข็งได้ครับ
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : PETE (Polyethylene Terephthalate)
วัตถุดิบที่ผลิตจากธรรมชาติอย่าง กระดาษ ซึ่งเป็นที่นิยมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร คือ กระดาษแบบFood Grade ที่ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาลธรรมชาติ อีกทั้งยังสามารถนำไปใช้ในธุรกิจหรือการจัดกิจกรรมต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับอาหารได้ อาทิเช่น การประกอบหรือทำอาหาร ใช้ร่วมกับพวกบรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร ท่านผู้อ่านจะได้เห็นตัวอย่างกล่องกระดาษที่เป็นวัสดุแบบ Food Grade ได้ในบทความหัวข้อถัดไปที่จะมีการแนะนำตัวอย่างบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ผลิตมาจากวัตถุดิบแบบ Food Grade โดยข้อดีของการใช้บรรจุภัณฑ์รูปแบบนี้มีอย่างมากมาย
ข้อดีของกระดาษแบบ Food Grade ที่นอกจากเหมาะกับการใช้กับอาหารที่ครอบคลุมในหลายประเภท แถมยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รักษ์โลก เพราะสามารถย่อยสลายเองได้ตามธรรมชาติ
https://thaifoodpackaging.com/blog/foodgrade-safety-packaging/
เพราะเหตุใดจึงต้องเป็น ฟู้ดเกรด (Food grade) กับธุรกิจและอุตสาหกรรมอาหาร
จะกล่าวถึง สาเหตุที่หลายคนสงสัยหรือยังไม่ทราบว่า ทำไมต้องใช้คำว่า Food grade ในผู้ประกอบการร้านอาหารและเครื่องดื่มหรืออุตสาหกรรมเกี่ยวกับอาหาร นั่นก็เป็นเพราะว่าปัจจุบัน มีการใช้วัสดุที่หลากหลายมากมาย ไม่ว่าจะเป็น พลาสติก กระดาษ ไม้ ฯลฯ เข้ามาทำเป็นอุปกรณ์เครื่องครัว ตลอดจนหีบห่อและบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ผู้บริโภคพกพาอาหารไว้รับประทานได้สะดวก ซึ่งด้วยอุณหภูมิของอาหาร เช่น ความร้อน อาจทำปฏิกิริยากับสารเคมีตลอดจนองค์ประกอบบางอย่างของวัสดุ ทำให้หากไม่มีการควบคุมคุณภาพและสร้างมาตรฐานในการใช้วัสดุสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร อาจทำให้มีสารเคมีตกค้างบนอาหาร จนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
FDA หรือ ชื่อย่อของพวกองค์การอาหารและยาจากทางประเทศสหรัฐอเมริกา (USA) องค์กรนี้นั้นจึงได้เริ่มกำหนดมาตรฐานที่เป็นแบบ Food Grade ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ผลิตรวมไปจนถึงผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร หรือประกอบธุรกิจต่างๆเกี่ยวกับด้านอาหารหรือเครื่องดื่มทั้งรายเล็กและรายใหญ่ เลือกที่จะใช้วัสดุให้มีความเหมาะสม สำหรับทุกกิจกรรม กิจการต่างๆที่ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ไม่ว่าจะการทำอาหาร การเตรียมอาหาร หรือบรรจุอาหารใส่ในภาชนะ ทั้งนี้แล้วนั้นเพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ก่อนที่ต่อมาจะกลายเป็นมาตรฐานให้แก่ทุกๆประเทศทั่วโลก ที่ต่างใช้กัน เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงในประเทศไทยของเราเองด้วยครับ
แล้วใช้วัสดุแบบไหนในการนำมาผลิต
อย่างที่เกริ่นในเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าปัจจุบัน วัสดุที่นิยมใช้กันในอุตสาหกรรมอาหารที่พบได้บ่อยและแพร่หลาย ก็คือ วัสดุที่เป็นพลาสติกและกระดาษ โดยเฉพาะวัสดุที่ผลิตมาจากพลาสติกซึ่ง จะเข้ามามีบทบาทมากทั้งในรูปแบบของอุปกรณ์เครื่องครัว ภาชนะต่างๆ รวมไปถึงบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหาร ซึ่งผู้บริโภคหลายๆท่านอาจจะมองข้ามและไม่รู้ว่าในตัวของวัสดุอย่างพลาสติกเองก็มีมากมายหลากหลายชนิด แต่ละชนิดก็ถูกนำมาใช้ ในบริบทที่แตกต่างกัน โดยจะจำแนกชนิดพลาสติกที่มีความเหมาะกับการนำมาใช้กับอาหาร สามารถสัมผัสอาหารได้โดยตรงจะ ประกอบด้วยตามหัวข้อดังนี้
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : PP หรือ POLYPROPYLENE (พอลิโพรพิลีน)
วัตถุดิบอย่างพลาสติกชนิดนี้ มีความแข็งและความเหนียว คุณสมบัติเบื้องต้นมี ความทนทานต่อการหักงอ ทนต่อความร้อนหรืออุณภูมิที่สูงรวมไปถึงทนต่อสารเคมีได้ มีความใส ป้องกันการผ่านของความชื้นได้ดี แต่ป้องกันการผ่านของอากาศได้ต่ำ และไม่ทนต่อความเย็น มักใช้ในการผลิตภาชนะเช่นจำพวก ถุงร้อน หรือพวกกล่องพลาสติกสำหรับใส่เพื่อบรรจุอาหาร
และด้วยคุณสมบัติที่สามารถทนต่อความร้อนได้สูง บรรจุภัณฑ์พวกนี้จึงทำให้นำเข้าอุ่นในเตาไมโครเวฟได้เพื่อประกออบหรืออุ่นอาหารได้ ทั้งนี้ พลาสติกที่มีส่วนผสมของวัสดุแบบ PP ยังสามารถนำไปทำบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารในครัวเรือน เช่น จานอาหาร ชามใส่อาหาร ถ้วยขนาดต่างๆ เป็นต้น
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade :HDPE (High Density Polyethylene)
เป็นวัตถุดิบที่มีส่วนประกอบที่มีคุณลักษณะของความแข็งแรง ทนทาน สามารถใช้ได้กับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมีความเป็นกรด เป็นด่าง เพราะตอบสนองได้ช้าต่อพวกปฏิกิริยาในทางเคมี มีความยืดหยุ่น เหนียว ที่สำตัญมีความทนทานต่อการแตกหรือหักงอได้เป็นอย่างดีและทนความร้อนได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ในเรื่องของคุณสมบัติเบื้องต้นนั้นสามารถใช้หรือบรรจุของที่มีอุณภูมิความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงถึง 100 องศาเซลเซียสได้อาทิเช่น พวกน้ำที่ต้มสุก,กาแฟร้อนประเภทต่างๆ,น้ำเต้าหู้ทรงเครื่อง,น้ำขิง หรือจะเป็นน้ำชงรูปแบบต่างๆที่ต้องใช้ความร้อนในการชง เป็นต้น โดยสามารถใส่เป็นถุงหิ้วพกพาได้ง่ายเช่น พกพวกน้ำหวานสำหรับใส่เครื่องดื่มที่มีความเย็น ถุงหิ้วใส่น้ำแข็ง หรือน้ำอัดลมไว้ดื่มได้ทุกที่ได้ครับ
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : LDPE (Low density polyethylene)
เป็นวัตถุดิบที่เป็นพลาสติกที่ไม่ทนต่อความร้อน ยืดหยุ่นได้ดี มีผิวสัมผัสที่นิ่ม ทนทานต่อการทะลุ รวมไปถึงทนทานต่อการฉีกขาด เนื้อวัสดุพลาสติกประเภทนี้จะมีความเหนียว ไม่กรอบหรือแตกง่าย แต่ในเรื่องของความแข็งแรงทนทานจะมีน้อยกว่าตัววัสดุพลาสติกแบบ HDPE อีกทั้ง มีความใสน้อยกว่า PP ตอบสนองต่อปฏิกิริยาเคมีช้า ทนต่อความเป็นกรดและความเป็นด่าง ออกซิเจนและอากาศสามารถที่ซึมผ่านได้ นิยมนำมาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหารเช่น ถุงเก็บความเย็น ขวดน้ำโพลาลิส ฝาขวดต่างๆ อีกหนึ่งคุณสมบัติของพลาสติกชนิดนี้ก็คือสามารถใส่ของที่มีความร้อนได้ไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส และถ้าหากหากนำใส่ของที่มีความเย็นสามารถนำไปแช่แข็งได้ครับ
วัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุแบบ Food Grade : PETE (Polyethylene Terephthalate)
วัตถุดิบที่ผลิตจากธรรมชาติอย่าง กระดาษ ซึ่งเป็นที่นิยมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร คือ กระดาษแบบFood Grade ที่ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาลธรรมชาติ อีกทั้งยังสามารถนำไปใช้ในธุรกิจหรือการจัดกิจกรรมต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับอาหารได้ อาทิเช่น การประกอบหรือทำอาหาร ใช้ร่วมกับพวกบรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร ท่านผู้อ่านจะได้เห็นตัวอย่างกล่องกระดาษที่เป็นวัสดุแบบ Food Grade ได้ในบทความหัวข้อถัดไปที่จะมีการแนะนำตัวอย่างบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ผลิตมาจากวัตถุดิบแบบ Food Grade โดยข้อดีของการใช้บรรจุภัณฑ์รูปแบบนี้มีอย่างมากมาย
ข้อดีของกระดาษแบบ Food Grade ที่นอกจากเหมาะกับการใช้กับอาหารที่ครอบคลุมในหลายประเภท แถมยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รักษ์โลก เพราะสามารถย่อยสลายเองได้ตามธรรมชาติ
https://thaifoodpackaging.com/blog/foodgrade-safety-packaging/