[ใหม่] ใหม่ล่าสุด แนวข้อสอบ กรมประมง ทุกตำแหน่ง

545 สัปดาห์ ที่แล้ว - นครพนม - คนดู 36

399 ฿

คู่มือเตรียมสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ กรมประมง ทุกตำแหน่ง ล่าสุด
อ้างอิง: หัวข้อนี้ถูกเน้น โดย admin เมื่อเวลา(2013-07-08)
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมประมง ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
ประกอบด้วย
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมประมง
- แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ (เฉลย)
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการประมง
- การปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำให้ทนทานต่อโรค พันธุศาสตร์คุณภาพ

- แนวข้อสอบ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์
- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
- ถาม - ตอบ เกี่ยวกับระเบียบงานสารบัญ

- เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์


แนวข้อสอบนักวิชาการประมง ทุกหน่วยงาน
ข้อสอบนักวิชาการประมง

1.ทรัพยากรประมงหมายถึงข้อใด
1. ทรัพยากรทางนํ้าทุกชนิด
2. กุ้ง หอย ปูปลา
3. สัตว์นํ้าและพืชนํ้าทุกชนิดรวมทั้งผลผลิตและผลพลอยได้จากสัตว์นํ้าและพืชนํ้าได้แก่ ปลา ปู หอย หมึก และสัตว์นํ้าอื่น ๆ
4. ทรัพยากรปลาทะเล
5. ทรัพยากรปลานํ้าจืด

2.ความหมายของการประมงหมายถึงข้อใด
1. การจับสัตว์นํ้า
2. การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า
3. การซื้อขายการค้าการลงทุนเรื่องสัตว์นํ้า
4. การดำเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์นํ้า
5. การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้า

3.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่รูปแบบการเลี้ยงปลา
1. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน
2. การเลี้ยงปลาในคอก
3. การเลี้ยงปลาในคูร่องสวน
4. การเลี้ยงปลาในตู้กระจก
5. การเลี้ยงปลาในคลอง

4.การเลี้ยงปลาไม่สามารถเลี้ยงร่วมกับสิ่งใด
1. การเลี้ยงปลาร่วมกับการปลูกพืช
2. การเลี้ยงปลาร่วมกับการเลี้ยงเป็ด
3. การเลี้ยงปลาร่วมกับการเลี้ยงหมู
4. การเลี้ยงปลาร่วมกับการเลี้ยงไก่เนื้อ
5. การเลี้ยงปลาร่วมกับการเลี้ยงโค

5.ข้อใดต่อไปนี้คือเครื่องมือประมงประจำที่
1. โป๊ะ โพงพาง
2. ลอบ ไซ
3. เบ็ด ตาข่าย
4. อีจู้ ลัน
5. ฉมวก สุ่ม

6.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เครื่องมือประมงนํ้าจืด
1. ลอบยืน อีจู้
2. ฉมวก ลัน
3. โป๊ะ โพงพาง
4. ไช สุ่ม
5. สวิง เบ็ด

7.เจ้ากรมรักษาสัตว์นํ้าคนแรกของประเทศไทยคือใคร
1. ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิท
2. ดร.เชาเวน ลิง
3. ม.ร.ว. สุวพรรณ สนิทวงค์
4. หลวงจุลชีพพิช ชาธร
5. กรมขุนสงขลานครินทร์

8.Over fishing หมายถึง
1. การจับปลาขนาดใหญ่
2. การจับปลาในฤดูไข่
3. การจับปลาเกินกําลังการผลิตของธรรมชาติ
4. การจับปลาโดยวิธีผิดกฎหมาย
5. การจับปลาที่ใกล้สูญพันธุ์

9.เขตเศรษฐกิจจำเพาะมีความยาวเท่าใด
1. 100 ไมล์ทะเล
2. 200 ไมล์ทะเล
3. 300 ไมล์ทะเล
4. 400 ไมล์ทะเล
5. 500 ไมล์ทะเล

10.นักเรียนที่ได้รับทุน “มหิดล” รุ่นที่หนึ่งที่เดินทางไปศึกษาวิชาการเพาะพันธุ์ปลาที่ประเทศสหรัฐมีทั้งหมดกี่ท่าน
1. 1 ท่าน
2. 2 ท่าน
3. 3 ท่าน
4. 4 ท่าน
5. 5 ท่าน

11.ปัจจุบันประเทศไทยมีหน่วยงานที่ทำการดูแลแนะนำ ขยายการจับสัตว์นํ้าเพื่อเป็นอาหารทั้งภายในและภายนอกประเทศ กำหนดเขตและฤดูที่อนุญาตให้จับสัตว์นํ้าตาม พรบ. อากรค่านํ้าชื่อว่าอะไร
1. กรมรักษาสัตว์นํ้า
2. กรมการประมง
3. กรมประมง
4. กรมเจ้าท่า
5. สถานีประมง

12.สถานีแห่งแรกของประเทศไทย คือ
1. สถานีประมงจังหวัดลพบุรี จังหวัดลพบุรี
2. สถานีประมงหนองหาร จังหวัดสกลนคร
3. สถานีประมงกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา
4.สถานีประมงบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
5. สถานีประมงประทุมธานี จังหวัดประทุมธานี

13.สถานีประมงแห่งที่ 2 ของประเทศไทยคือ
1. สถานีประมงจังหวัดลพบุรี จังหวัดลพบุรี
2. สถานีประมงหนองหาร จังหวัดสกลนคร
3. สถานีประมงก๊วานพะเยา จังหวัดพะเยา
4. สถานีประมงบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
5. สถานีประมงประทุมธานี จังหวัดประทุมธานี

14.ปัญหาการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดได้แก้ข้อใด
1. ขาดแคลนพ่อ,แม่พันธุ์
2. ความแห้งแร้ง
3. สภาพแวดล้อม
4. โรคระบาดปัญหาราคา
5. ถูกทุกข้อ

15.การเลี้ยงกุ้งกุลาดำในแหล่งนํ้าจืดมีผลต่อสะภาพแวดล้อมอย่างไร
1. การเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดลดลง
2. ทำให้ปลูกพืชได้น้อยลง
3. ความเค็มจะแพร่กระจายลงสู่ดินทำให้สะภาพค่านำไฟฟ้าของดินเปลี่ยนไปจึงไม่เหมาะต่อการทำ การเกษตร
4. ทำให้กุ้งกุลาดำมีผลผลิตน้อยลง
5. ไม่สามารถส่งออกกุ้งกุลาดำได้

16.การประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะของประเทศเพื่อนบ้านมีผลกระทบต่อการประมงของไทยคือ
1. ทรัพยากรลดน้อยลง
2. สัตว์นํ้าถูกจับมากขึ้น
3. ชาวประมงสูญเสียพื้นที่ทำการประมงในทะเลลดลง
4. เกิดกรณีพื้นที่ทับซ้อน
5. ชาวประมงถูกจับ

17.ผลทางบวกต่อการประมงจากปรากฏการณ์เอลนีโน คือข้อใด
1. กระแสนํ้าในมหาสมุทรแปซิฟิกทำให้ซูโอแพลงค์ตอนของปลาซาลมอนเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็ว
2. ทำให้สัตว์นํ้ามีราคาแพงมากขึ้น
3. ปริมาณปลาลดลง
4. ชาวประมงต้องออกไปจับสัตว์นํ้าไกลจากชายฝั่งมากขึ้น
5. ปลามีความสมบูรณ์เพศมากขึ้น

18.เจ้าหน้าที่กระทรวงต่างประเทศของไทยมีหน้าที่เกี่ยวข้องต่อการประมงในข้อใด
1. การเจราจากับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อให้รับสัมปทานแก่เรือประมงไทย
2. การประท้วงกรณีรัฐชายฝั่งกระทำเกินกว่าเหตุ
3. การให้ความช่วยเหลือกับเจ้าของเรือและลูกเรือ
4. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบการประมง
5. ถูกทุกข้อ

19.การอนุรักษ์ทรัพยากรประมงหมายถึงอะไร
1. การใช้ประโยชน์จากสัตว์นํ้า
2. การใช้ประโยชน์จากสัตว์นํ้าและผลพลอยได้จากสัตว์นํ้า
3. การใช้ประโยชน์จากสัตว์นํ้าและผลพลอยได้จากสัตว์นํ้า อย่างเห็นคุณค่า
4. การใช้ประโยชน์จากสัตว์นํ้าและผลพลอยได้จากสัตว์นํ้า อย่างเห็นคุณค่าและสูญเสียน้อยที่สุด
5. การใช้ประโยชน์จากสัตว์นํ้าและผลพลอยได้จากสัตว์นํ้า อย่างเห็นคุณค่าและสูญเสียน้อยที่สุด และสร้างเพิ่มเติม

20.ข้อใดไม่ใช่การอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
1. วางมาตรการป้องกันศัตรูสัตว์นํ้า
2. วางมาตรการทำการประมงที่เหมาะสม
3.วางมาตรการ ห้ามทำการประมงในเขตหวงห้าม
4. การใช้เครื่องมือประมงที่ไม่จำกัด
5. วางมาตรการอื่นเพื่อเพิ่มผลผลิต

21.ทรัพยากรธรรมชาติ มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
1. มี 2 ประเภท คือ ทรัพยากรที่ทดแทนได้กับทรัพยากรที่มีปริมาณจำกัด
2. มี3 ประเภท คือ ทรัพยากรที่ทดแทนได้กับทรัพยากรที่มีปริมาณจำกัดกับทรัพยากรที่ทดแทนได้ บางส่วน
3. มี4 ประเภท คือ ทรัพยากรที่ทดแทนได้ กับทรัพยากรที่มีปริมาณจำกัด กับทรัพยากรที่ทดแทนได้ บางส่วนกับทรัพยากรที่มีปริมาณไม่จำกัด
4. มี5 ประเภท คือ ทรัพยากรที่ทดแทนได้ กับทรัพยากรที่มีปริมาณจำกัด กับทรัพยากรที่ทดแทนได้ บางส่วนกับทรัพยากรที่มีปริมาณไม่จำกัด กับทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
5. มี6 ประเภท คือ ทรัพยากรที่ทดแทนได้ กับทรัพยากรที่มีปริมาณจำกัด กับทรัพยากรที่ทดแทนได้ บางส่วนกับทรัพยากรที่มีปริมาณไม่จำกัด กับทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไปกับทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่ หมด

22.แหล่งนํ้ากับสัตว์นํ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไรเป็นอันดับแรก
1. ที่อยู่อาศัย
2. อาหาร
3. ย้ายถิ่น
4. หลบศัตรู
5. สืบพันธุ์

23.มนุษย์มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรประมงอย่างไรมากที่สุด
1. ที่อยู่อาศัย
2. อาหาร
3. ย้ายถิ่น
4. หลบศัตรู
5. สืบพันธุ์

24.ข้อใดมิใช่มาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
1. การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า
2. การทำนุบำรุงรักษาและปรับปรุงถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์นํ้า
3. การเร่งดำเนินการรังวัดปักเขตที่ราษฎร
4. ขุดลอก คลองหนองบึงและบริเวณแหล่งนํ้าที่ตื้นเขิน
5. ป้องกันมิให้แหล่งนํ้าเกิดมลพิษ

25.บริเวณพื้นที่ป่าชายเลนที่ประกอบด้วยต้นไม้ที่มีระบบรากที่ประสานกันอย่างหนาแน่นช่วยในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงอย่างไรบ้าง
1. ป้องกันคลื่นลมและกระแสนํ้า
2. ดักตะกอนดินและแร่ธาตุ
3. ทำให้เกิดสาหร่ายและหญ้าทะเล
4. เป็นแหล่งวางไข่และอนุบาลสัตว์นํ้าวัยอ่อน
5. ถูกทุกข้อ

26.การชะล้าง การพังทลายและการตื้นเขินของแหล่งทำการประมงนํ้าจืด เป็นปัญหาในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงจากสาเหตุใด
1. ประชากรเพิ่มขึ้น
2. การทิ้งสิ่งปฏิกูล
3. การเสื่อมโทรมจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์
4. นํ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
5. การจับสัตว์นํ้าโดยใช้ระเบิด

27.สายนํ้าเปลี่ยนเส้นทางไหลจนสัตว์นํ้าไม่สามารถอพยพย้ายถิ่นไปวางไข่ยังต้นนํ้าได้ เป็นปัญหาในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงจากสาเหตุใด
1. ประชากรเพิ่มขึ้น
2. การทิ้งสิ่งปฏิกูล
3. การเสื่อมโทรมจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์
4. นํ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
5. การจับสัตว์นํ้าโดยใช้ระเบิด

28.การสร้างเขื่อนเป็นปัญหาในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงด้านใดมากที่สุด
1. การวางไข่ของสัตว์นํ้า
2. การเจริญเติบโตของสัตว์นํ้า
3. การสะสมสารเคมีในตัวของสัตว์นํ้า
4. การทำลายป่าไม้แหล่งต้นนํ้าและอาหารของสัตว์นํ้า
5. การทำลายระบบนิเวศที่จำเป็นต่อสัตว์นํ้า

29.ที่สาธารณะใดที่ห้ามมิให้บุคคลจับสัตว์นํ้า
1. แม่นํ้า
2. เขตวัด
3. ดูนํ้า
4. หนองบึง
5. ห้วย

30.เมื่อบุคคลใดได้รับอนุญาตให้ทำการประมงแล้วถ้าไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกําหนดจะเป็นอย่างไร
1. ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
2. ถูกตัดเตือน
3. ถูกริบใบอนุญาต
4. ถูกปรับไม่เกิน 200 บาท
5. ถูกริบใบอนุญาตและถูกปรับไม่เกิน 200 บาท

31.บุคคลใดฝ่าฝืนกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติการประมง คือ เททิ้งระบายวัตถุทีพิษลงในที่จับสัตว์มีโทษสถานใด
1. ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือทั้งจำทั้งปรับ
2. ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 6 เดือน
3. ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือทั้งจำทั้งปรับ
4. ปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง100,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือนถึง5ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ
5. ปรับตั้งแต่ 200,000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 5 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ

32.ข้อใดคืองานการคลังขององค์การสะพานปลา
1. งานนิติการ
2. งานวิศวกรรม
3. งานสารบรรณ
4. งานงบประมาณ
5. งานวางแผน

33.คณะกรรมการองค์การสะพานปลาอยู่ในวาระครั้งละกี่ปี
1. 2 ปี
2. 4 ปี
3. 5 ปี
4. 6 ปี
5. 7 ปี

34.ผู้ที่มีอำนาจประกาศรับรองการจัดตั้งองค์กรประมงท้องถิ่น ในเขตประมงนํ้าจืดหรือเขตประมงทะเลชายฝั่งโดยให้มีเขตอำนาจตามที่กำหนดไว้เพื่อให้มีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสัตว์นํ้าภายในเขตท้องถิ่นนั้นคือใคร
1. เกษตรจังหวัด
2. ประมงจังหวัด
3. เกษตรอำเภอ
4. นายอำเภอ
5. รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดโดยอนุมัติรัฐมนตรี

35.หน้าที่ต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายประมงแห้วชาติ
1. กําหนดนโยบายการพัฒนาการประมงตนอกนานนํ้า
2. กําหนดแนวทางและเป้าหมายในการพัฒนาการประมงของประเทศให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม
3. กําหนดราคาสินค้าส่งออกสัตว์นํ้า
4. กําหนดแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์นํ้า
5. อนุมัติแผนและงบประมาณดำเนินงานของกองทุน

36.เขตประมงทะเลนอกชายฝั่งหมายถึง
1. ที่จับสัตว์นํ้าซึ่งอยู่ในน่านนํ้าไทย
2. ที่จับสัตว์นํ้าในน่านนํ้าทะเลทั้งหมด
3. ที่จับสัตว์นํ้าตามแนวเขตที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาโดยกําหนดระยะห่างจากขายฝั่ง 3 ไมล์ ทะเลโดยประมาณ
4. ที่จับสัตว์นํ้าทะเลทั้งหมดที่อยู่ภายในเขตน่านนํ้าไทยนับทางด้านที่ประชิดติดกับเขตประมงทะเล ชายฝั่งออกไป
5. ที่จับสัตว์นํ้าทั้งหมดในน่านนํ้าสากล

37.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสถานที่เพาะพันธุ์สัตว์นํ้า
1. รับซื้อผลผลิตสัตว์นํ้า
2. เพาะและขยายพันธุ์สัตว์นํ้า
3. จำหน่ายจ่ายแจกสัตว์นํ้าแก่ประชากร
4. เลี้ยงสัตว์นํ้า
5. ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสัตว์นํ้า

38.การกําหนดฤดูกาลปลามีไข่ในน่านนํ้าจืดในท้องที่ทุกจังหวัดตั้งแต่วันที่เท่าไรถึงวันที่เท่าไรในรอบปี
1. วันที่ 16 พฤษภาคม ถึงวันที่ 15 กันยายนของทุกปี
2. วันที่ 16 มิถุนายน ถึงวันที่ 15 ตุลาคมของทุกปี
3. วันที่ 16 ตุลาคม ถึงวันที่ 15 ธันวาคมของทุกปี
4. วันที่ 16 ธันวาคม ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปี
5. วันที่ 16 กุมภาพันธ์ถึงวันที่ 15 พฤษภาคมของทุกปี

39.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์การสะพานปลา
1. จัดดำเนินการและนำมาซึ่งความเจริญของสะพานปลา ตลาดสินค้าสัตว์นํ้า อุตสาหกรรมการ ประมง
2. จัดดำเนินการหรือควบคุมและอำนวยการซึ่งกิจการแพปลา ขนส่งและกิจกรรมอื่นอันเกี่ยวกับแพ ปลา
3. สนับสนุนกิจกรรมการจับ การค้าขาย การขนส่ง สินค้าสัตว์นํ้าทุกชนิด
4. ส่งเสริมฐานะสวัสดิการและอาชีพชาวประมงและบูรณาการหมู่บ้านประมง
5. ส่งเสริมสหกรณ์และสมาคมชาวประมง

40.บทบาทหน้าที่ขององค์การสะพานปลาคือข้อใด
1. สนับสนุนผู้เลี้ยงสัตว์นํ้า
2. สนับสนุนผู้ค้าสัตว์นํ้า
3. สนับสนุนกิจการประมงที่ให้บริการซื้อขายสัตว์นํ้าและผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้า
4. สนับสนุนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5. สนับสนุนกิจการแพปลา

41.องค์การสะพานปลาเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงใด
1. กระทรวงพาณิชย์
2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3. กระทรวงการคลัง
4. กระทรวงพลังงาน
5. กระทรวงคมนาคม

42.องค์กรสะพานปลาจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ใด
1. พ.ศ. 2496
2. พ.ศ. 2469
3. พ.ศ. 2479
4. พ.ศ. 2495
5. พ.ศ. 2490

43.ข้อใดไม่ใช่ปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรสะพานปลา
1. สัตว์นํ้าลดน้อยลง
2. ขาดเงินลงทุนเพื่อขยายงาน
3. ปัญหาน่านนํ้าที่ทำการประมง หลังจากประเทศเพื่อนบ้านประกาศขยายเขตเศรษฐกิจจำเพาะ
4. ภาระหนี้สินจากโครงการพัฒนาประมงในระยะแรก
5. การส่งเสริมสนับสนุนแก่กลุ่มเกษตรกรทำประมง และ สหกรณ์ไม่ได้เท่าที่ควร

44.ใบอนุญาตประกอบกิจการแพปลาประเภทสินค้าสัตว์นํ้าสด จะต้องเสียค่าธรรมเนียมปีละเท่าใด
1. 2,000 บาท
2. 3,000 บาท
3. 4,000 บาท
4. 5,000 บาท
5. 6,000 บาท

45.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์การสะพานปลา และ ท่าเทียบเรือ ที่จัดตั้งขึ้นถูกต้อง
1. สะพานปลากรุงเทพมหานคร
2. สะพานปลาสมุทรสาคร
3. สะพานปลาสมุทรปราการ
4. สะพานปลาสงขลา
5. ท่าเรือเทียบเรือประมงภูเก็ต

46.ผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้าคือข้อใด
1. การเก็บรักษาสัตว์นํ้า
2. การประกอบอาหารจากสัตว์นํ้า
3. การแก้ปัญหาผลผลิตสัตว์นํ้าล้นตลาด
4. ผลผลิตที่ได้จากการนำเอาสัตว์นํ้ามาแปรรูปโดยวิธีต่าง ๆ
5. ผลผลิตได้จากสัตว์นํ้าวัยอ่อน

47.ความต้องการผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้ามีแนวโน้มเป็นอย่างไร
1. ตลาดมีความต้องการสูงมากขึ้น
2. ตลาดมีความต้องการลดลง
3. ต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันสวยงามมากขึ้น
4. ตลาดมีความต้องการปานกลาง
5. ไม่แน่ใจ

48.หลักการสุขลักษณะแบ่งอันตรายไว้ด้านใดบ้าง
1. ด้านชีวภาพ
2. ด้านเคมี
3. ด้านกายภาพ
4. ข้อ 1,2และ 3 ถูก
5. ไม่มีข้อกําหนด

49.ประเทศไทยนำเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้าจากประเทศใดบ้าง
1. พม่า,กัมพูชา,ไต้หวัน
2. ฮ่องกง,แคนนาดา,จีน
3. ญี่ปุ่น,ลาว,สหรัฐอเมริกา
4. อังกฤษ,สหรัฐอเมริกา,มาเลเชีย
5. อินโดนีเชีย,ญี่ปุ่น,เกาหลีใต้,จีน,สหรัฐอเมริกา,อินเดีย

50.สัตว์นํ้าที่มีการส่งออกและนำเข้าที่สำคัญของไทยคือสัตว์นํ้าชนิดใด
1. แมงดาทะเล
2. กุ้ง ผลิตภัณฑ์กุ้ง,ปลาและผลิตภัณฑ์จากปลา
3. ปลาร้าทรงเครื่อง
4. นํ้าผลิตเผา
5. ปลาสด,ปลาป่นและหอย

51.นโยบายการประมงของไทยปัจจุบันมีทั้งหมดกี่นโยบาย
1. 4 นโยบาย
2. 5 นโยบาย
3. 6 นโยบาย
4. 7 นโยบาย
5. 8 นโยบาย

52.การบริหารจัดการฟื้นฟู คุ้มครอง และการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพจัดอยู่ในนโยบายใด
1. นโยบายพัฒนาเกษตรกรประมงและองค์กรที่เกี่ยวข้อง
2. นโยบายการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า
3. นโยบายพัฒนาการประมงนอกน่านนํ้า
4. นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมประมงและธุรกิจการประมง

53.การจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสัตว์นํ้าให้มีมาตรฐาน เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และขยายตลาดสินค้าสัตว์นํ้า มีความเกี่ยวข้องกับนโยบายใด
1. นโยบายพัฒนาเกษตรกรประมง
2. นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
3. นโยบายการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า
4. นโยบายพัฒนาการประมงนอกน่านนํ้า
5. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมประมงและธุรกิจการประมง


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักวิชาการประมง กรมประมง ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ประกอบด้วย 170 หน้า
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมประมง
- แนวข้อสอบเก่านักวิชาการประมง _อัตานัย
- เอกสารเตรียมสอบนักวิชาการประมง
- แนวข้อสอบนักวิชาการประมง (เฉลยอธิบาย)
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการประมง
- การปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำให้ทนทานต่อโรค พันธุศาสตร์คุณภาพ
- เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

ส่งเป็นไฟล์ PDF ทาง E-MAIL สามารถนำไปปริ้นได้เลย ในราคาชุดละ 399 บาท
* ส่งด่วนภายใน 3 ชม. ส่งช้าไม่เกิน 24:00 น. วันที่โอนเงิน * ( ควรดูที่ JUNK MAIL )
สั่งซื้อมาที่ 0914067400 หรือ ส่ง SMS / LINE ID = roihetpon1
ชำระค่าสินค้าและบริการ โอนเงินแล้วแจ้งที่  
auipui34@gmail.com  หรือ Line ID roihetpon1  แจ้งรายละเอียดให้ชัดเจน**
1. ธ. กรุงเทพ ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 048-0-17796-3 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
2. ธ. กรุงไทย ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีสะพานควาย เลขที่บัญชี 980-6-40570-6 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
3. ธ. กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 748-2-66186-0 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai
4. ธ.ไทยพาณิชย์ ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีรามอินทรา เลขที่บัญชี 402-398830-4 ชื่อบัญชี Pisitchai & Sumalee
5. ธ. กรุงศรีอยุธยา ออมทรัพย์ สาขา อุรุพงษ์ เลขที่บัญชี 130-1-28490-7 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai

ดูข้อสอบเพิ่มเติมที่ www.thaionline1.com ** เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น. **