[ใหม่] ตรงและแม่นยำ ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด งานราชการ ข่าวล่าสุด

455 สัปดาห์ ที่แล้ว - นครพนม - คนดู 147

399 ฿

  • ตรงและแม่นยำ ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด งานราชการ ข่าวล่าสุด รูปที่ 1
  • ตรงและแม่นยำ ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด งานราชการ ข่าวล่าสุด รูปที่ 2
รายละเอียด
ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด งานราชการ ข่าวล่าสุด

จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ สสจ. ทุกตำแหน่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ข่าวล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป

- แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย

- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกระทรวงสาธารณสุข

- แนวข้อสอบสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน

-แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547

- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง (เลือกตามตำแหน่งที่สอบ)
- นักทรัพยากรบุคคล
- นิติกร
- นักจัดการงานทั่วไป
- พนัเจ้าหน้าที่ธุรการ
- นักวิชาการการเงินและบัญชี
- นักวิชาการคอมพิวเตอร์
- นักวิชาการสาธารณะสุข
- นักพัสดุ

ส่งเป็นไฟล์ PDF ทาง E-MAIL สามารถนำไปปริ้นได้เลย ในราคาชุดละ 399 บาท
* ส่งด่วนภายใน 3 ชม. ส่งช้าไม่เกิน 24:00 น. วันที่โอนเงิน * ( ควรดูที่ JUNK MAIL )
สั่งซื้อมาที่ 0914067400 หรือ ส่ง SMS / LINE ID = roihetpon1
ชำระค่าสินค้าและบริการ โอนเงินแล้วแจ้งที่  
auipui34@gmail.com  หรือ Line ID roihetpon1  แจ้งรายละเอียดให้ชัดเจน**
1. ธ. กรุงเทพ ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 048-0-17796-3 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
2. ธ. กรุงไทย ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีสะพานควาย เลขที่บัญชี 980-6-40570-6 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
3. ธ. กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 748-2-66186-0 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai
4. ธ.ไทยพาณิชย์ ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีรามอินทรา เลขที่บัญชี 402-398830-4 ชื่อบัญชี Pisitchai & Sumalee
5. ธ. กรุงศรีอยุธยา ออมทรัพย์ สาขา อุรุพงษ์ เลขที่บัญชี 130-1-28490-7 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai

ดูข้อสอบเพิ่มเติมที่ www.thaionline1.com ** เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น. **

 

 

 

 

 

 

แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครพนม
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสกลนคร 

แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดมุกดาหาร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุบลราชธานี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหนองคาย 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอำนาจเจริญ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหนองบัวลำภู 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุดรธานี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเลย 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดร้อยเอ็ด 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดมหาสารคาม 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุรินทร์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบูรณ์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยภูมิ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัด-เชียงราย 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพะเยา 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำพูน 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดน่าน 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำปาง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดแพร่ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุตรดิตถ์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตาก 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพิษณุโลก 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกำแพงเพชร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพิจิตร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครสวรรค์ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอุทัยธานี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยนาท 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลพบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสิงห์บุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดปราจีนบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสระบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครนายก 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอ่างทอง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดราชบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอยุธยา 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสมุทรสงคราม 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสมุทรสาคร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสระแก้ว 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดจันทบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดระยอง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชลบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบุรี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชุมพร 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดระนอง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครศรีธรรมราช 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพังงา 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกระบี่ 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพัทลุง 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดภูเก็ต 
แนวข้อสอบ สสจ. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดสงขลา 

คู่มือสอบ แนวข้อสอบ เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ นักวิชาการสาธารณสุข (บัญชี ง) ข่าวล่าสุด
คู่มือเตรียมสอบ เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ นักวิชาการสาธารณสุข (บัญชี ง)


1. โรคติดต่ออุบัติใหม่ (Emerging infectious diseases) หมายถึง
ตอบ โรคติดต่อที่มีอุบัติการณ์ในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้

2. โรคติดต่ออุบัติใหม่ ได้แก่โรคติดต่อชนิดใด
ตอบ โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) และโรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือ โรคติดต่อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปนานหลายปีแล้ว แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก โรคจากเชื้อดื้อยา (Drug resistant pathogens) และโรคจากการก่อการร้ายด้วยเชื้อโรค(Bioterrorism)

3. โรคติดต่ออุบัติใหม่จากสัตว์ (Emerging zoonotic diseases) หมายถึง
ตอบ โรคติดต่อจากสัตว์ที่พบใหม่หรือเกิดจากเชื้อที่กลายพันธุ์ไป หรือโรคที่มีอยู่เดิมแล้ว แต่พบแนวโน้มของอุบัติการณ์ของโรค พื้นที่ โฮสต์ หรือพาหะนำโรคเพิ่มมากขึ้น

4. ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีอะไรบ้าง
ตอบ
1. ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors) เช่น เชื้อโรค มนุษย์ โครงสร้าง ประชากร พฤติกรรมของมนุษย์ (Demographic factors) ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ของมนุษย์และสัตว์ (Human and animal interface)
2. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental factors) เช่น การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์จากการกระทำของมนุษย์ (Man-made ecological changes) ภาวะโลกร้อน (Global warming)
3. ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ (Socioeconomic factors) เช่น การเดินทางและการค้าระหว่างประเทศ (International travel and trade factors) โครงสร้างสาธารณสุข (Public health infrastructure factors)

5. การที่สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจากเดิม ส่งผลให้เกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ต่าง ๆ เป็นผลเนื่องมาจากสาเหตุใด
ตอบ
- การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์จากการกระทำของมนุษย์ (Man-made ecological changes) การบุกรุกและทำลายป่าในประเทศที่กำลังพัฒนาเป็นเรื่องที่พบเห็นได้บ่อย ทำให้เกิดความไม่สมดุลที่เอื้อต่อการเกิดและแพร่เชื้อโรค โดยมนุษย์อาจติดเชื้อจากสัตว์ป่าโดยตรง แล้วนำกลับไปแพร่ในชุมชน นอกจากนั้นยังอาจเกิดการแพร่กระจายของแมลงและสัตว์นำโรค เช่น การทำลายป่าเพื่อสร้างสนามบินนานาชาติในมาเลเซีย ทำให้ค้างคาวต้องอพยพเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรมเปิดโอกาสให้เชื้อไวรัสนิปาห์แพร่ไปยังสุกรอยู่ระยะหนึ่ง และในเวลาต่อมาเชื้อก็สามารถแพร่ติดต่อมายังคนได้ในที่สุด
- อุตสาหกรรมการผลิตอาหารโดยการเลี้ยงสัตว์ที่ขาดการจัดการที่ดี มีส่วนทำให้เกิดเชื้อโรคชนิดใหม่เช่น กรณีโรควัวบ้า (Mad Cow disease) หรือโรคสมองฝ่อในวัว (Bovine SpongiformEncephalopathy : BSE) เกิดจากการใช้เศษเนื้อเศษกระดูกของแกะ (ซึ่งติดเชื้อสมองฝ่อScrapie) มาเลี้ยงวัว เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตน้ำนม ทำให้เกิดโรคสมองฝ่อแบบใหม่ (Variant Creutzfeldt-Jacob Disease : vCJD) ในมนุษย์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากพริออน (prion) หรือกรณีการเลี้ยงสัตว์ปีกอย่างหนาแน่น เพื่อการส่งออกในหลายประเทศของเอเชีย โดยขาดการจัดการป้องกันการแพร่เชื้อเข้ามาสู่ฟาร์ม (Biosecurity) ซึ่งเป็นต้นเหตุหนึ่งของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก
- ภาวะโลกร้อน (Global warming) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทั่วโลกเกิดความกังวลต่อปัญหาภาวะโลกร้อนเพิ่มขึ้น เนื่องจากพบว่าในศตวรรษที่ 21 นี้ อุณหภูมิของโลกได้เพิ่มสูงขึ้นอีก 1 - 4 องศาเซลเซียส ทำให้แมลงพาหะนำโรคต่างๆ สามารถแพร่ขยายพันธุ์ได้มากขึ้น และขยายพื้นที่อยู่อาศัยออกไปข้ามประเทศหรือทวีปได้ขณะเดียวกัน จุลชีพก่อโรคต่าง ๆ ที่ต้องอาศัยอยู่กับแมลงเหล่านี้ ก็พัฒนาเติบโตได้รวดเร็วขึ้นอีกด้วย
6. ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีอะไรบ้าง
ตอบ
- ปัญหาความยากจน โดยเฉพาะในประเทศที่ด้อยพัฒนาหรือประเทศกำลังพัฒนานั้น ได้นำมาซึ่งสุขภาพไม่ดี ประชากรยากจนในชนบทและสลัมในเขตเมือง รวมทั้งแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายซึ่งอาจทำให้โรคติดต่อที่เคยควบคุมได้แล้ว กลับเข้ามาระบาดซ้ำในประเทศได้อีก และ ประชากรกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติดโรคต่าง ๆ ได้มากกว่าประชากรกลุ่มอื่น ๆ เนื่องมาจาก ความด้อยโอกาสในการเข้าถึงข่าวสาร ระบบบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน และระบบบริการทาง การแพทย์และการสาธารณสุข ทำให้ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ ไม่ทราบวิธีป้องกันตนเองจากโรคเหล่านั้น เป็นผลต่อเนื่องทำให้ขาดพฤติกรรมสุขอนามัยที่ช่วยป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ
- การเพิ่มขึ้นของการเดินทางและการค้าระหว่างประเทศ (International travel and trade factors) ปัจจุบันการเดินทางระหว่างประเทศมีจำนวนเพิ่มและสะดวกรวดเร็วขึ้นมาก รวมทั้งมีการเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามพรมแดน ตลอดจนการขนส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วย ปัจจัยเหล่านี้ทำให้โรคติดต่ออุบัติใหม่ สามารถแพร่กระจายจากพื้นที่หนึ่งไปสู่พื้นที่อื่นได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมักก่อให้เกิดการระบาดอย่างรุนแรงอย่างกว้างมาก ดังเช่นการแพร่ระบาดของโรคซาร์สไปยังประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ รวม 29 ประเทศภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว การแพร่ระบาดทั่วโลกของไข้หวัดใหญ่ในศตวรรษที่ 20 รวม 3 ครั้งนั้นพบว่า ใช้เวลาลดลงเมื่อการคมนาคมสะดวกสบายรวดเร็วขึ้น และล่าสุดการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่(H1N1) 2009 ที่แพร่ไปพร้อมกับผู้เดินทางทางอากาศ โดยใช้เวลาเพียงสองเดือนเศษก็แพร่ไปทั่วโลก
- การค้าสัตว์ระหว่างประเทศ อาจนำเชื้อใหม่แพร่ติดเข้าไปด้วย เช่น การระบาดของไข้หวัดนกในฮ่องกง เกิดจากการนำเข้าไก่จากจีน การระบาดของโรควัวบ้าในฝรั่งเศสและประเทศอื่น ๆ ที่เกิดจากการนำเข้าเศษเนื้อเศษกระดูกวัวเพื่อเป็นอาหารสัตว์จากอังกฤษ นอกจากนั้น ในกระบวนการขนส่งสินค้า หากละเลยมาตรการสุขาภิบาลที่ด่านเข้าเมือง ก็จะเป็นโอกาสเอื้อให้สัตว์ ยุง และแมลงพาหะอื่น ๆ แพร่ขยายพันธุ์ออกไปจากแหล่งพักพิงดั้งเดิม และอาจนำเอาเชื้อก่อโรคอันตรายติดไปด้วย
- การลักลอบการนำเข้าสัตว์ป่าจากต่างประเทศเพื่อมาเป็นสัตว์เลี้ยง อาจนำโรคใหม่ ๆ เข้ามาในพื้นที่ซึ่งไม่เคยพบเชื้อและคนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อนั้นมาก่อน เช่น หนูแกมเบียนจากอาฟริกานำโรคฝีดาษลิง (Monkey pox) เข้าไปในสหรัฐอเมริกา ไทยพบเชื้อซาลโมเนลลาสายพันธุ์ใหม่ในอิกัวนาจากอาฟริกามากถึง 11 ชนิด และแมลงสาบยักษ์จากเกาะมาดากัสการ์ก็อาจก่อปัญหาในทำนองเดียวกัน หมูจิ๋วกับปัญหาไข้สมองอักเสบ เจ อี สัตว์ปีกกลุ่มนกแก้วกับโรคสิตตาโคซิส(Psittacosis) นอกจากนั้น ในประเทศไทย พบมีการนำนากหญ้าและหอยเชอรี่จากไต้หวันเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหาร ซึ่งอาจทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่เอื้อต่อการเกิดโรคระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิสหรือโรคฉี่หนูเพิ่มขึ้น รวมถึงการนำพ่อแม่พันธุ์สัตว์เข้ามาขยายพันธุ์ในเชิงพาณิชย์ เช่น ไก่ เป็ด โค สุกร ม้า สุนัข ก็อาจเป็นการนำเชื้อเข้าแพร่กระจายได้ในทำนองเดียวกัน
- ปัจจัยด้านโครงสร้างสาธารณสุข (Public health infrastructure factors) การขาดแคลนทรัพยากรและงบประมาณในระบบสาธารณสุข การไม่ให้ความสำคัญกับปัญหาโรคติดต่อ รวมทั้งการละเลยมาตรการป้องกันควบคุมโรคของประเทศต่าง ๆ อาจนำไปสู่ปัญหาการระบาดใหญ่ตรงกันข้าม การมีระบบและโครงสร้างสาธารณสุขที่เข้มแข็ง จะช่วยให้สามารถค้นหาการระบาดของโรคและสกัดกั้นการระบาดได้อย่างรวดเร็ว เท่ากับเป็นการลงทุนด้านงบประมาณและกำลังบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่จะต้องสูญเสียไปกับการรักษาและการแก้ไขปัญหาที่ปลายทางเมื่อเกิดการระบาดขึ้นแล้ว
- ปัญหาการก่อการร้ายโดยการใช้เชื้อโรคมาผลิตเป็นอาวุธ (Bioterrorism) เช่น เหตุการณ์ในสหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ.2545 ผู้ก่อการร้ายใช้สปอร์ของเชื้อแอนแทรกซ์ผสมผงแป้ง บรรจุลงในจดหมายและไปรษณียภัณฑ์ นอกจากนั้นยังมีความเสี่ยงที่ผู้ก่อการร้ายอาจใช้เชื้อโรคอื่น ๆ กลับมาสร้างปัญหาสาธารณสุขสำคัญอีกครั้งหนึ่ง เช่น เชื้อไวรัสไข้ทรพิษ ซึ่งถูกกวาดล้างไปจากโลกแล้ว
7. โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นโรคระบาดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดใด
ตอบ ชนิด A (H1N1) http://www.thaionline1.com/read.php?tid=11001
ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุข ข่าวล่าสุด
แนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุข

http://www.thaionline1.com/read.php?tid=1452

ข้อสอบเฉพาะทาง สาธารณะสุข 


1. 1669 คือเบอร์อะไร
เบอร์ 1669 คือเบอร์ กู้ชีพ กู้ภัย หรือ ที่เรียกกันว่า
EMS สามารถโทรได้ทุกที่ ในประเทศ ท่านกด
ที่ใด ก็จะไปติด ศูนย์ที่จังหวัดนั้น มีไว้แจ้ง เรื่องอุบติเหตุ ไม่ว่า เจอกับตัว หรือ พบเห็น สามารถ โทรเข้าได้เลย แล้วศูนย์ จะแจ้งไปยัง หน่อยกู้ภัย ในเขต นั้นๆ ให้รีบออกไปยัง สถานที่เกิดเหตุนั้นๆ



2. - หมายเลขโทรถามเรื่องบัตรทองคือ ?
- สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 2-4 อาคารรวมหน่วยงานราชการ
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ฯ 10210 โทรศัพท์ เบอร์กลาง 02 141 400002 141 4000
โทรสาร (Fax) 02 143 9730 – 1 เว็บไซท์ :

3. สิทธิต่างๆของบัตรทองมีอะไรบ้าง
- บัตรทองเป็นสิทธิสวัสดิการที่ได้จากรัฐ ครอบคลุมการรักษาพยาบาลทั้งหมดตามความเป็นจริง
แต่ยกเว้นค่าห้องค่าอาหารสำหรับผู้ป่วยใน ผู้รับสิทธิบัตรทองต้องไม่เป็นข้าราชการหรือผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม ไม่มีการเก็บเงินสมทบ แต่มีค่าใช้จ่ายในการใช้งานครั้งละ
30 บาท

4. ใครที่ต้องลงขันให้กองทุนประกันสังคม
- ลูกจ้างผู้ประกันตนและนายจ้างจะต้องลงขันฝ่ายละ 5% ของค่าจ้างรายเดือน

5. ประกันสังคมจ่ายในกรณีไหนบ้าง
- กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ กรณีเสียชีวิต กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ กรณีว่างงาน ผู้ประกันตนมาตรา 40

6. แต่ละช่วงอายุจะฉีดวัคซีนอะไรบ้าง (ชื่อวัคซีนในชอยส์เป็นตัวย่อภาษาอังกฤษทั้งหมด)
- ทารกแรกเกิด - วัคซีนบีซีจี (BCG) ป้องกันวัณโรค
ทารกอายุ 2 เดือน และ 4 เดือน- วัคซีนดีพีที (DPT) ป้องกันไอกรน คอตีบ บาดทะยัก, โปลิโอชนิดกิน, ฮิปวัคซีนทารกอายุ 9 เดือน – วัคซีนป้องกันโรคหัด
เด็กอายุ 15 เดือน - วัคซีนเอ็มเอ็มอาร์ (MMR) ป้องกันหัด คางทูม และหัดเยอรมัน
อายุ 18 เดือน - วัคซีนดีพีที (DPT) ป้องกันไอกรน คอตีบ บาดทะยัก, โปลิโอชนิดกิน
อายุ 2 ปี – วัคซีนป้องกันไข้ไทฟอยด์
อายุ 3 ปี - วัคซีนป้องกันไข้ไทฟอยด์ และให้ฉีดทุก 3 ปี
อายุ 4-6 ปี - วัคซีนดีพีที (DPT) ป้องกันไอกรน คอตีบ บาดทะยัก, โปลิโอชนิดกิน
อายุ 14-16 ปี - วัคซีน ดี ที ชนิดผู้ใหญ่

7. อาการของวัณโรค , ต้องตรวจอะไรตรงไหนถึงจะรู้ว่าเป็นไหม
- ไข้ พบว่าผู้ป่วยโรควัณโรคจะมีไข้ได้ตั้งแต่ร้อยละ 37-80 แต่ก็มีผู้ป่วยร้อยละ 21 ที่ไม่มีไข้เลย หลังจากได้รับยารักษาวัณโรคพบว่าไข้จะลงในหนึ่งและสองสัปดาห์ ร้อยละ34,64 ตามลำดับระยะเวลาเฉลี่ยที่ไข้ลงประมาณ 10 วัน
อาการอื่นๆที่พบได้ได้แก่ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ครั่นเนื้อครั่นตัว เหงื่อออกกลางคืน
พบว่าเม็ดเลือดขาวอาจจะต่ำ ปกติหรือสูงก็ได้ ในรายที่เป็นมานานจะพบภาวะโลหิตจางด้วย
อาการของเลือแรโซเดียมต่ำซึ่งจากปอดที่ติดเชื้อวัณโรสร้าง antidiuretic hormone-like substance
การวินิจที่ถูกต้องจะต้องตรวจพบตัวเชื้อโรค โดยการนำสารหลั่งต่างมาตรวจ เช่น เสมหะ น้ำจากกระเพาะอาหาร น้ำจากช่องปอด น้ำไขสันหลัง นอกจากนั้นหากสามารถเพาะเชื้อโรคได้จะทำให้การวินิจฉัยถูกต้อง การนำมาเพาะเชื้อก็มีความจำเป็นเนื่องจากเชื้อวัณโรคมีการดื้อยาบ่อยทำให้ ต้องทราบว่าเชื้อดื้อต่อยาอะไรบ้าง เพื่อจะได้ปรับยาที่ใช้รักษา นอกจากนั้นระยะเวลาก็มีความสำคัญ

8. ใครบ้างที่เป็นกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อวัณโรค
- ผู้ที่ได้รับเชื้อ [Latent infection] ทุกคนไม่จำเป็นต้องเป็นวัณโรคทุกคน ประมาณว่าร้อยละ 10จะเป็นวัณโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรค ประจำตัวเหล่านี้ ผู้ป่วยโรคเอดส์ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยที่ได้รับยา prednisolone หรือยากดภูมิคุ้มกันเป็นเวลานาน หรือเปลี่ยนไต ผู้ป่วยที่ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวน้อย ผู้ป่วยที่เป็น silicosis ผู้ป่วยที่ตัดกระเพาะ หรือตักต่อลำไส้

9. การจำแนกกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน จำแนกกี่แบบ อะไรบ้าง
- 1. เบาหวานในทารกและเด็ก หมายถึงผู้ป่วยที่มีอาการของเบาหวานเริ่มต้นเมื่ออายุ 0-14 ปี ผู้ป่วยพวกนี้มักจะมีอาการเริ่มต้นรุนแรงและมักเป็นผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้ รับอินซูลินตลอดเวลา
2. เบาหวานในวัยรุ่น หมายถึงผู้ป่วยที่เริ่มมีอาการเบาหวานระหว่างอายุ 15 – 25 ปี ซึ่งโดยมากมักจะมีอาการเกิดขึ้นทันที และมักจะเป็นผู้ป่วยซึ่งต้องให้อินซูลินรักษาเช่นเดียวกัน
3. เบาหวานในผู้ใหญ่ หมายถึง โรคเบาหวานซึ่งเริ่มต้นมีอาการตั้งแต่อายุ 25 – 64 ปี ซึ่งผู้ป่วยพวกนี้มีอาการเปลี่ยนแปลงได้มาก และมักไม่จำเป็นจะต้องได้รับอินซูลิน
4. เบาหวานในคนสูงอายุ หมายถึงผู้ป่วยที่เริ่มมีอาการเมื่อมีอายุเกิน 64 ปีขึ้นไป และมักจะไปพบแพทย์ด้วยอาการของโรคแทรกซ้อนของเบาหวาน ผู้ป่วยพวกนี้มักสามารถควบคุมอาการเบาหวานได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้อินซูลิน
นอกจากนี้ โรคเบาหวานยังจำแนกออกได้อีกแบบหนึ่งดังนี้
1. เบาหวานประเภทวัยรุ่น หมายถึงผู้ป่วยเบาหวานไม่ว่าจะอยู่ในอายุใดๆ ก็ตามที่ต้องการอินซูลินในการรักษา และเป็นประเภทซึ่งมีความโน้มเอียงที่จะเกิดภาวะคีโทซิส (ketosis) ได้ง่าย
2. เบาหวานประเภทต่อต้านอินซูลิน หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องการอินซูลินมากเกินกว่าวันละ 200 หน่วย
3. เบาหวานจากต่อมไร้ท่อ หมายถึงผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานหรือมีความผิดปกติไม่ทนต่อเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต เนื่องจากโรคของต่อมไร้ท่อ เช่นกลุ่มอาการคุชิง
4. เบาหวานประเภทเปลี่ยนแปลงง่าย หมายถึง โรคเบาหวานประเภทวัยรุ่นซึ่งควบคุมอาการของระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินปกติ ภาวะคีโทซิส และอาการระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่าปกติได้ยาก

10. ประชากรไทยมักป่วยด้วยโรคอะไร
-
โรคสมองเสื่อม (DEMENTIA) กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (HEART ATTACK) มะเร็งไฝ (MELANOMA) มะเร็งเต้านม (BREAST CANCER) กาฬหลังแอ่น (MENINGOCOCCAL INFECTION) เบาหวาน (DIABETES)

ข้อสอบ คู่มือสอบ แนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุข 
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ใหม่ล่าสุด 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกระทรวงสาธารณสุข 
- แนวข้อสอบระบาดวิทยากับการป้องกันควบคุมโรค 
- เก็งข้อสอบนักวิชาการสาธารณสุข 
- สรุปพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ 
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพ 
- ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 
- การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 
- หลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ 
- นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข 2555 
- ความรู้เบื้องต้นทางชีวสถิติ 
- ความรู้ทั่วไปทางเภสัชวิทยา 
- แนวข้อสอบเฉพาะทาง สาธารณะสุข 
- สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน 
- อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 

http://www.nhso.go.th

ส่งเป็นไฟล์ PDF ทาง E-MAIL สามารถนำไปปริ้นได้เลย ในราคาชุดละ 399 บาท
* ส่งด่วนภายใน 3 ชม. ส่งช้าไม่เกิน 24:00 น. วันที่โอนเงิน * ( ควรดูที่ JUNK MAIL )
สั่งซื้อมาที่ 0914067400 หรือ ส่ง SMS / LINE ID = roihetpon1
ชำระค่าสินค้าและบริการ โอนเงินแล้วแจ้งที่  
auipui34@gmail.com  หรือ Line ID roihetpon1  แจ้งรายละเอียดให้ชัดเจน**
1. ธ. กรุงเทพ ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 048-0-17796-3 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
2. ธ. กรุงไทย ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีสะพานควาย เลขที่บัญชี 980-6-40570-6 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
3. ธ. กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เ