[ใหม่] ข้อสอบ แนวข้อสอบ คู่มือสอบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (อัตนัย) ทุกตำแหน่ง งานราชการ ใหม่ล่าสุด

418 สัปดาห์ ที่แล้ว - นครพนม - คนดู 145

399 ฿

  • ข้อสอบ แนวข้อสอบ คู่มือสอบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (อัตนัย) ทุกตำแหน่ง งานราชการ ใหม่ล่าสุด รูปที่ 1
รายละเอียด

ข้อสอบ แนวข้อสอบ คู่มือสอบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (อัตนัย) ทุกตำแหน่ง งานราชการ ใหม่ล่าสุด
 
อ้างอิง: หัวข้อนี้ถูกเน้น โดย admin เมื่อเวลา(2013-07-16)
 
 
http://www.thaionline1.com/


แนวข้อสอบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (อัตนัย) 
(1) ท่านมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา อย่างไรบ้างจงอธิบายมาให้เขาใจ 
(2) ถ้าคุณเป็นนักวิชาการพาณิชย์ คุณจะให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับตัวของผู้ประกอบการไทยอย่างไรถึงจะแข่งขันกับ AEC ได้ 
(3) จงอธิบาย ความแตกต่างระหว่างสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร 
(4) จงอธิบายเกี่ยวกับคำศัพท์ต่อไปนี้
1. เครื่องหมายการค้า (Trademake) 
2. ความลับทางการค้า (Trade Secrets) 
3. ลิขสิทธิ์
(5) ประเทศไทยมีกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 4 ฉบับ คือ 
(6) จงอธิบายเกี่ยวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Utility Patent) 
(7) จงอธิบายความหมายของคำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย และแปลงทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทุน 
(8) จาก พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้า พ.ศ.2543 ได้ความคุ้มครองเครื่องหมาย 4 ประเภท[1] คือ

จำหน่ายเอกสาร แนวข้อสอบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา ทุกตำแหน่ง ล่าสุด 
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
- การจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา 
- การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 
- ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา 
- แนวข้อสอบเฉพาะตำแหน่งที่สอบ _อัตนัย_
 
เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
- นักวิชาการเงินและบัญชี
- นักวิชาการพาณิชย์
- นักวิชาการตรวจสอบสิทธิบัตรปฏิบัติการ

ส่งเป็นไฟล์ PDF ทาง E-MAIL สามารถนำไปปริ้นได้เลย ในราคาชุดละ 399 บาท
* ส่งด่วนภายใน 3 ชม. ส่งช้าไม่เกิน 24:00 น. วันที่โอนเงิน * ( ควรดูที่ JUNK MAIL )
สั่งซื้อมาที่ 0914067400 หรือ ส่ง SMS / LINE ID = roihetpon1
ชำระค่าสินค้าและบริการ โอนเงินแล้วแจ้งที่  
auipui34@gmail.com  หรือ Line ID roihetpon1  แจ้งรายละเอียดให้ชัดเจน**
1. ธ. กรุงเทพ ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 048-0-17796-3 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
2. ธ. กรุงไทย ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีสะพานควาย เลขที่บัญชี 980-6-40570-6 ชื่อบัญชี Sumalee Thongyot
3. ธ. กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 3 เลขที่บัญชี 748-2-66186-0 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai
4. ธ.ไทยพาณิชย์ ออมทรัพย์ สาขา บิ๊กซีรามอินทรา เลขที่บัญชี 402-398830-4 ชื่อบัญชี Pisitchai & Sumalee
5. ธ. กรุงศรีอยุธยา ออมทรัพย์ สาขา อุรุพงษ์ เลขที่บัญชี 130-1-28490-7 ชื่อบัญชี Pisitchai Kimchai

ดูข้อสอบเพิ่มเติมที่ www.thaionline1.com ** เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น. **

ตัวอย่างข้อสอบ

ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทรัพย์สินอีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ เช่น เครื่องหมายการค้า สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์เป็นต้น
ข้อตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้า ภายใต้มาตรา 301 ของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่อกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศต่าง ๆรวมทั้งประเทศไทยซึ่งประเทศสหรัฐอเมริกาประเมินว่ามีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้ หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปราบปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่องนี้เป็นอย่างมาก มิฉะนั้นผู้ประกอบการภายในประเทศหรือนักลงทุนต่างชาติจะไม่กล้าเข้ามาลงทุนในประเทศไทย นอกจากการปราบปรามแล้วรัฐยังส่งเสริมผู้ประกอบการและผู้สนใจทั่วไปให้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสร้างทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้คนไทยอยากคิดและอยากสร้างผลงานใหม่ ๆในสาขาอาชีพที่ตนเองถนัด และมีความชำนาญเป็นพิเศษ เพื่อให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศ ในการแข่งขันทางการค้าเสรี ได้

ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมและลิขสิทธิ์

1. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
หมายถึงทรัพย์สินที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม เช่นการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็นกระบวนการและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการค้าชื่อและถิ่นที่อยู่ทางการค้า แหล่งกำเนิดสินค้าและการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่เป็นธรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1.1 สิทธิบัตร(Patent)
หมายถึงหนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาดหรือสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการแสงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น สามารถแบ่งได้ดังนี้
1.1.1 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Invention) คือความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์การขอรับสิทธิบัตรมีลักษณะหรือเงื่อนไข ดังนี้
1)ต้องเป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ยังไม่มีใช้หรือแพร่หลายมาก่อนในประเทศหรือไม่เคยเปิดเผยสาระสำคัญในเอกสารหรือสิ่งพิมพ์มาก่อน ทั้งในและนอกประเทศ
2)ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น คือ มีลักษณะที่เป็นการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคหรือไม่เป็นการประดิษฐ์ที่อาจทำได้ง่ายด้วยผู้ที่มีความรู้ในระดับธรรมดา
3)ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรมหรือพาณิชยกรรม
4) มีอายุการคุ้มครอง 20 ปีนับแต่วันขอสิทธิบัตร
เมื่อวันที่ 2กุมภาพันธ์ 2536 กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรในพระ
ปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในการทรงประดิษฐ์ “เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยหรือกังหันน้ำชัยพัฒนา” นับเป็นสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ไทยและเป็นครั้งแรกของโลกที่พสกนิกรต่างสรรเสริญและถวายพระนามว่า “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย”
กังหันน้ำชัยพัฒนาเป็นผลงานการประดิษฐ์คิดค้นที่สะท้อนให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพและ
พระปรีชาสามารถในการแก้ปัญหาจากสิ่งแวดล้อม พระองค์ทรงเป็นแบบฉบับให้กับนักประดิษฐ์ไทยได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ
1.1.2สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) คือความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับการทำให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงามและแตกต่างไปจากเดิม เช่น รูปร่าง ลวดลาย สีของผลิตภัณฑ์ เป็นต้นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่จะขอรับสิทธิบัตรมีลักษณะหรือเงื่อนไขดังนี้
1)ต้องเป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่ออุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม
2)เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในประเทศ หรือยังไม่ได้เปิดเผยสาระสำคัญหรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ก่อนวันขอรับสิทธิบัตร
3)ไม่คล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
4) มีอายุคุ้มครอง 10 ปีนับแต่วันขอรับสิทธิบัตร
1.1.3ผลิตภัณฑ์ออรถประโยชน์ (Utility Model) หรืออนุสิทธิบัตร (PettyPatent) คือความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมากหรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อยการประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตรมีลักษณะหรือเงื่อนไข ดังนี้
1)ต้องเป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ยังไม่เคยมีการใช้หรือแพร่หลายก่อนวันยื่นขอรับอนุสิทธิบัตร
2) ยังไม่เคยมีการเปิดเผยสาระสำคัญของการประดิษฐ์นั้นก่อนวันยื่นขอทั้งในและต่างประเทศ
3)สามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้

ความแตกต่างระหว่างสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร
1)สิทธิบัตรการประดิษฐ์จะต้องมีการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่งที่มีมาก่อนหรือมีการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นแต่อนุสิทธิบัตรเป็นการประดิษฐ์ที่มีเทคนิคไม่สูงนักอาจจะเป็นการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย
2)สิทธิบัตรต้องมีการตรวจสอบก่อนรับจดทะเบียน ส่วนอนุสิทธิบัตรใช้เวลาสั้นกว่า เนื่องจากไม่ต้องมีการตรวจสอบก่อนรับจดทะเบียน
3) อนุสิทธิบัตรมีอายุ6 ปี นับตั้งแต่วันขอรับอนุสิทธิบัตรและต้องชำระค่าธรรมเนียมรายปี ตั้งแต่ะเริ่มต้นปีที่ 5และปีที่ 6 และสามารถต่อายุได้อีก 2 ครั้งครั้วละ 2 ปี รวม 10 ปี ส่วนสิทธิบัตรการประดิษฐ์มีอายุ 20ปี นับตั้งแต่วันขอรับสิทธิบัตร

1.2 เครื่องหมายการค้า (Trademake)
เป็นทรัพย์สินทางปัญญาตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าพ.ศ. 2543 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543 ในมาตรา 4 ให้ความหมายคำว่า “เครื่องหมาย” ไว้ว่า “ภาพถ่ายภาพวด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คำ ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุ่มของสีรูปร่าง หรือรูปทรงของวัตถุ หรือสิ่งเหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน” มี 4 ประเภทดังนี้
2.1 เครื่องหมายการค้า (Trademark)
2.2เครื่องหมายบริการ (Service Mark)
2.3เครื่องหมายร่วม (Colective Mark)
2.4เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark)

1.3ความลับทางการค้า (Trade Secrets)
หมายถึงข้อมูลทางการค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับและมีการดำเนินการตามสมควรเพื่อรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ

2.ลิขสิทธิ์
หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ ลิขสิทธิ์ยังรวมถึง สิทธิข้างเคียง คือการนำเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานฐานข้อมูล
ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินที่สามารถซื้อขาย หรือโอนสิทธิกันได้ ทั้งทางมรดกหรือโดยวิธีอื่น ๆ การโอนสิทธิควรจะทำเป็นลายลักษณ์อักษรหรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจน ซึ่งจะโอนสิทธิทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้ อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์โดยทั่วไปจะมีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และจะคุ้มครองต่อไปอีก 50 ปี นับจากผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต